Sunday, March 29, 2009

วิรุณจำบัง

วิรุณจำบัง รบกับ ทหารวานร ของ พระราม แล้วถูกหนุมานฆ่าตาย


ทศกัณฐ์ให้ไปเชิญสัทธาสูรและวิรุณจำบังมาช่วยรบ

ทศกัณฐ์คิดได้ว่ามีเพื่อนรักชื่อ สัทธาสูรเจ้ากรุงอัสดงค์กับวิรุญจำบังลูก พระยาทูษณ์ผู้นัดดา ทั้งสองมีฤทธาศักดานุภาพแปลงกายหายตัวได้ จึงมีคำ สั่งให้มโหทรแต่งพระราชสาร เชิญสัทธาสูรสหายรักและวิรุญจำบังมาช่วยรบกับ รามลักษณ์

จึ่งให้อาลักษณ์เขียนสาร ลงในลานทองฉายฉัน
เสร็จใส่กล่องแก้วแพรวพรรณ ปิดตราสำคัญอสุรี
แล้วจึ่งสั่งให้เสนา ชื่อว่านนทจิตรยักษี
ไปยังอัสดงค์ธานี โดยมีพระบัญชาการ
ให้นนทไพรีรีบไป กรุงไกรจารึกราชฐาน
หาวิรุญจำบังขุนมาร เป็นการร้อนเร่งให้รีบมา

เมื่อ ทั้งสองทัพมาถึงกรุงลงกา ก็ขึ้นเฝ้าทศกัณฐ์ทันที พอเห็นพระสหายรักและ หลานมาก็ดีใจดังใครเอาน้ำอมฤตมารดทรวง ลงจากแท่นแก้วตรงเข้าจูงมือขึ้น ร่วมอาสน์ ปราศรัยกันไปมาทศกัณฐ์เล่าให้ฟัง ท้าวสัทธาสูรพอได้ยินดัง นั้นก็ว่า
"เหม่ เหม่ ไอ้พิเภกทรยศ เพราะมันบอกกลศึกลึก ซึ้งให้แก่สองมนุษย์ มันจึงบังอาจฮึดฮัดอวดหาญ พระสหายอย่ากลัว เลย เราจะสังหารผลาญชีวิตมันเสีย รวมทั้งไอ้พิเภกทรยศด้วย"

ส่วน วิรุญจำบังก็ว่า "อันสงครามครั้งนี้ไม่ธรรมดา หลานจะกำบังกายไปถือหอก เข้าไล่ราวีแทงเสียให้สิ้นกองทัพ พระองค์อย่าได้วิตกไปเลย"
ทศกัณฐ์ได้ฟังดังนั้นก็ลูบหลังแล้วว่า
"เจ้าผู้ทรงฤทธิ์แผ่นดินใหญ่ ปรีชา เคล่าคล่องว่องไว ทำได้ดั่งนี้ประเสร็ฐนัก แม้นเสร็จสงครามใน ลงกา ปิตุลาจะให้ผ่านอาณาจักร สืบในสุริย์วงศ์พงศ์ยักษ์เป็นหลักโลกา ธาตรี"
สัทธาสูรและวิรุญจำบังถูกหนุมานฆ่าตาย





วิรุณจำบังเป็นโอรสของพญาทูษณ์กษัตริย์เมืองจารึกองค์ที่ ๑ โอรสองค์ที่ ๕ ของท้าวลัสเตียนกับนางรัชฎา น้องชายร่วมบิดามารดาของทศกัณฐ์ วิรุณจำบัง มีม้าทรงคู่ใจตัวดำปากแดงชื่อ นิลพาหุ ซึ่งสามารถหายตัวได้ทั้งตนและม้า วิรุณจำบังรับอาสาทศกัณฐ์ยกทัพไปทำสงครามกับพระรามและพลวานรซึ่งกำลังมุ่ง หน้ามาที่กรุงลงกาเพื่อทวงนางสีดาคืน โดยไปสมทบกับทัพของท้าวสัทธาสูร เจ้าเมืองอัสดง สหายอีกตนของทศกัณฐ์ซึ่งต่อมาก็ถูกหนุมานฆ่าตาย เมื่อวิรุญจำบังไปรบ พลยักษ์ถูกพลวานรฆ่าตายหมด วิรุญจำบังผู้เป็นแม่ทัพจึงร่ายเวทย์กำบังตัวเองและม้า เข้าไปสังหารฝ่ายวานรล้มตายเป็นจำนวนมาก พระรามเห็นความไม่ชอบมาพากลจึงตรัสถามพิเภก พิเภกตอบว่าขณะนี้วิรุญจำบังใช้เวทย์หายตัวเข้ามาในกองทัพพิเภกถวายคำแนะนำ ให้พระรามแผลงศรไปฆ่าม้านิลพาหุเสีย เมื่อพระรามแผลงศรพรหมาสตร์ออกไปถูกม้าทรงของวิรุญจำบังตาย วิรุญจำบังเห็นว่าสู้ไม่ได้จึงคิดหนี โดยร่ายเวทย์เสกผ้าโพกศีรษะเป็นหุ่นพยนต์ซึ่งมีรูปกายเหมือนตนไม่ผิดเพี้ยน แล้วหลบหนีไปจนพบนางวานรินทร์ที่ ในถ้ำกลางป่า นางวานรินทร์แนะให้ไปซ่อนตัวอยู่ในฟองน้ำที่นทีสีทันดร ฝ่ายพระรามทรงรู้กลศึก แผลงศรเป็นตาข่ายเพชรทำลายรูปนิมิต แล้วสั่งให้หนุมานติดตาม ไปสังหาร หนุมานติดตามมาจนได้พบนางวานรินทร์เข้าเกี้ยวพาราสี และทราบว่าเป็นนางฟ้าที่ถูกสาปที่ทำผิดเนื่องจากมีหน้าที่รักษาประทีป แล้วปล่อยให้ประทีปดับ และจะพ้นคำสาปเมื่อได้พบทหารเอกของพระราม เมื่อนางวานรินทร์บอกที่ซ่อนของวิรุญจำบังแล้วจึงส่งนางกลับขึ้นสู่สวรรค์ หนุมานตามไปสังหารวิรุญจำบังได้สำเร็จ



ภาพบน วิรุณจำบัง ทหารยักษ์ หลานทศกัณฐ์
Links;

Sunday, February 1, 2009

Vayu - Wikipedia, the free encyclopedia

Vayu - Wikipedia, the free encyclopedia: "In Hinduism Vayu (Sanskrit: वायु, IAST: Vāyu; Malay: Bayu, Thai: Phra Pai) is a primary deity, the father of Bhima and the spiritual father of Lord Hanuman. He is also known as Vāta वात, Pavana पवन (meaning the Purifier)[2], or Prāna. In the hymns, Vayu is described as having 'exceptional beauty' and moving noisily in his shining coach, driven by two or forty-nine or thousand white and purple horses. A white Banner is his main attribute. [3]

As the word for air, (Vāyu) or wind (Pavana) is one of the Panchamahābhuta or five great elements. The Sanskrit word 'Vāta' literally means 'blown', 'Vāyu' 'blower', and 'Prāna' 'breathing' (viz. the breath of life, cf. the *an- in 'animate'). Hence, the primary referent of the word is the 'deity of Life', who is sometimes for clarity referred to as 'Mukhya-Vāyu' (the chief Vāyu) or 'Mukhya Prāna' (the chief of Life).

Sometimes the word 'vayu,' which is more generally used in the sense of the physical air or wind, is used as a synonym for 'prāna'.[4] There is however a separate set of five deities of Prāna (vital breath), Mukhya-Prāna being chief among them, so that, in Hindi and other Indian languages, someone's death is stated as 'his lives departed' (uske prān nikal gaye) rather than 'his life departed.' These five Vāyu deities, Prāna, Apāna, Vyāna, Udāna, and Samāna, control life (and the vital breath), the wind, touch/sensation, digestion, and excretion.

In the Upanishads, there are numerous statements and illustrations of the greatness of Vāyu. The Brhadaranyaka states that the gods who control bodily functions once engaged in a contest to determine who among them is the greatest. When a deity such as that of vision would leave a man's body, that man would continue to live, albeit as a blind man, and would regain the lost faculty once the errant deity returned to his post. One by one, the deities all took their turns leaving the body, but the man continued to live on, though successively impaired in various ways. Finally, when Mukhya Prāna started to leave the body, all the other deities started to be inexorably pulled off their posts by force, 'just as a powerful horse yanks off pegs in the ground to which he is bound.' This caused the other deities to realize that they can function only when empowered by Vayu, and can be overpowered by him easily. In another episode, Vāyu is said to be the only deity not afflicted by demons of sin who were on the attack. The Chandogya states that one cannot know Brahman except by knowing Vāyu as the udgitha (the mantric syllable 'om').

Followers of Dvaita philosophy hold that Mukhya-Vāyu incarnated as Madhvacharya to teach worthy souls to worship the Supreme God Vishnu and to correct the errors of the Advaita philosophy. Madhvacharya himself makes this claim, citing the Rig Veda as his evidence.

Pavan is also a fairly common Hindu name. Pavan had played an important role in Anjana's begetting Hanuman as her child. Hence Hanuman is also called Pavan-Putra (son of Pavana) and Vāyu-Putra."
For More ino see Ramakian Tales for a fun reading.

Movies Online Well worth Watching

โฆษณา